ผู้อยู่ด้วยความประมาท และผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาท

ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงภิกษุผู้อยู่ด้วยความประมาท และภิกษุผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟังธรรมนั้น. ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้อยู่ด้วยความประมาทเป็นอย่างไร คือ ภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุไม่สำรวมอินทรีย์คือตาอยู่ จิตย่อมซ่านไปในรูปทั้งหลาย...

ผลของการไม่สำรวม และผลของการสำรวมอินทรีย์

ภิกษุทั้งหลาย เมื่ออินทรียสังวรไม่มี ศีลของผู้มีอินทรีย์สังวรวิบัติ ก็ขาดที่ตั้งอาศัย เมื่อศีลไม่มี สัมมาสมาธิของผู้มีศีลวิบัติ ก็ขาดที่ตั้งอาศัย เมื่อสัมมาสมาธิไม่มี ยถาภูตญาณทัสนะของผู้มีสัมมาสมาธิวิบัติ ก็ขาดที่ตั้งอาศัย เมื่อยถาภูตญาณทัสนะไม่มี นิพพิทาวิราคะของผู้มียถาภูตญาณทัสนะวิบัติ...

ธรรมย่อมไหลไปสู่ธรรม

ภิกษุทั้งหลาย เมื่อมีศีล สมบูรณ์แล้วด้วยศีล ก็ไม่ต้องทำเจตนาว่า ความไม่เดือดร้อนจงเกิดขึ้นแก่เราเถิด ภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้เป็นธรรมดาว่า เมื่อมีศีล สมบูรณ์แล้วด้วยศีล ความไม่เดือดร้อนย่อมเกิดขึ้น. ภิกษุทั้งหลาย...

ลักษณะของผู้ที่อยู่ด้วยธรรม (๑)

ครั้งนั้น ภิกษุรูปหนึ่ง เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทแล้วนั่ง ณ ที่สมควร ครั้นแล้ว ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ภันเต ที่เรียกกันว่า...

อกุศลกรรมบถ ๑๐ และ กุศลกรรมบถ ๑๐

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่สวนมะม่วงของนายจุนทกัมมารบุตร เขตเมืองปาวา ครั้งนั้น นายจุนทกัมมารบุตรเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคแล้วนั่งในที่สมควร พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะนายจุนทกัมมารบุตรว่า จุนทะ เธอชอบใจความสะอาดของใครหนอ. นายจุนทกัมมารบุตรทูลว่า ภันเต พวกพราหมณ์ชาวปัจฉาภูมิ...

ภิกษุใหม่ ภิกษุผู้เสขะ ภิกษุผู้อรหันต์ ล้วนเจริญสติปัฏฐาน ๔

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่พราหมณคามชื่อโกศล ในแคว้นโกศล ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลาย … แล้วได้ตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่าใด เป็นผู้ใหม่...

เจริญสติปัฏฐาน ๔ เพื่อละเหตุที่ให้สิกขาถอยกำลัง

ภิกษุทั้งหลาย เหตุที่ให้สิกขาถอยกำลัง ๕ ประการเหล่านี้ ๕ ประการอะไรบ้าง คือ ๑) การฆ่าสัตว์มีชีวิต (ปาณาติบาต) ๒) การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้...

เจริญสติปัฏฐาน ๔ เพื่อละอุทธัมภาคิยสังโยชน์

ภิกษุทั้งหลาย อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการเหล่านี้ ๕ ประการอะไรบ้าง คือ ๑) รูปราคะ ๒) อรูปราคะ ๓) มานะ ๔)...

เจริญสติปัฏฐาน ๔ เพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์

ภิกษุทั้งหลาย โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการเหล่านี้ ๕ ประการอะไรบ้าง คือ ๑) สักกายทิฏฐิ ๒) วิจิกิจฉา ๓) สีลัพพตปรามาส ๔)...

การเจริญสติปัฏฐาน เป็นการรักษาทั้งตนเองและผู้อื่น

ภิกษุทั้งหลาย  เรื่องเคยมีมาแล้วในกาลก่อน บุรุษจัณฑาลวังสิกะ ยกไม้จัณฑาลวังสะตั้งขึ้นแล้ว ร้องสั่งผู้ช่วยซึ่งทำหน้าที่ถือถาดน้ำมันของเขา ด้วยคำว่า ‘เพื่อน ถาดน้ำมันจงมา จงขึ้นไปสู่ไม้จัณฑาลวังสะ...