การสร้างบุญกุศล

สัทธรรม ๗ ประการ เปรียบเหมือนเครื่องป้องกันนคร

ภิกษุทั้งหลาย ในกาลใด ปัจจันตนครของพระราชา มีการป้องกันไว้ดีแล้วด้วยเครื่องป้องกัน ๗ ประการ และสามารถหาอาหาร ๔ อย่างได้ตามความปรารถนา...

ทักขิณาวิภังคสูตร (เหตุที่เมื่อให้ทานแล้ว แต่ได้รับผลไม่เท่ากัน)

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่พระวิหารนิโครธาราม เขตพระนครกบิลพัสดุ์ ในสักกชนบท สมัยนั้น พระนางมหาปชาบดีโคตมีทรงถือผ้าห่มคู่หนึ่ง เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคแล้ว ประทับนั่งในที่สมควร พอประทับนั่งเรียบร้อยแล้ว...

เทวดามีความสงสัยในเรื่องบุญ

เทวดาทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า บุคคลให้อะไรชื่อว่าให้กำลัง ให้อะไรชื่อว่าให้วรรณะ ให้อะไรชื่อว่าให้ความสุข ให้อะไรชื่อว่าให้จักษุ และบุคคลเช่นไรชื่อว่าให้ทุกสิ่งทุกอย่าง ข้าพระองค์ทูลถาม ขอพระองค์ตรัสบอกแก่ข้าพระองค์ด้วยเถิด. พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า บุคคลให้อาหารชื่อว่าให้กำลัง...

ต้นเหตุของอกุศล และกุศล (อกุศลมูล กุศลมูล)

ภิกษุทั้งหลาย อกุศลมูล ๓ อย่างเหล่านี้มีอยู่ ๓ อย่างอะไรบ้าง คือ โลภะเป็นอกุศลมูล โทสะเป็นอกุศลมูล โมหะเป็นอกุศลมูล. ภิกษุทั้งหลาย...

ผู้มีสัมมาทิฏฐิ ย่อมทำให้เกิดกุศลธรรมเป็นอันมาก

… ภิกษุทั้งหลาย บรรดาองค์ทั้ง ๗ นั้น สัมมาทิฏฐิย่อมเป็นธรรมนำหน้า ก็สัมมาทิฏฐิย่อมเป็นธรรมนำหน้า เป็นอย่างไร คือ...

ผลของการให้ทาน รักษาศีล แต่ไม่ภาวนา (บุญกิริยาวัตถุ ๓)

ภิกษุทั้งหลาย บุญกิริยาวัตถุ ๓ ประการเหล่านี้ ๓ ประการอะไรบ้าง คือ ๑) บุญกิริยาวัตถุสำเร็จด้วยทาน ๒) บุญกิริยาวัตถุสำเร็จด้วยศีล ๓) บุญกิริยาวัตถุสำเร็จด้วยภาวนา ภิกษุทั้งหลาย...

ความดีที่ทำให้ได้เป็นท้าวสักกะ หรือพระอินทร์.

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่เชตะวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตนครสาวัตถี ในครั้งนั้น … พระผู้มีพระภาคได้ตรัสเรื่องนี้ว่า ภิกษุทั้งหลาย ท้าวสักกะจอมเทพเมื่อยังเป็นมนุษย์อยู่ในกาลก่อน เป็นมาณพชื่อว่ามฆะ...

ผู้มีกำลัง ๔ ประการ ย่อมก้าวล่วงภัย ๕ ประการได้

ภิกษุทั้งหลาย กำลัง (พละ) ๔ ประการเหล่านี้มีอยู่ ๔ ประการอะไรบ้าง คือ ๑) กำลัง คือ...

เมื่อศึกษาในสิกขา ๓ จะไม่ทำสิ่งที่เป็นอกุศล และไม่เสพสิ่งที่เป็นบาป

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เขตเมืองเวสาลี ครั้งนั้น ภิกษุวัชชีบุตรรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคแล้วนั่งในที่สมควร ครั้นแล้วทูลขึ้นว่า ภันเต สิกขาบท ๑๕๐...

ควรเป็นผู้ฉลาดในวาระจิตของตน (๒)

ภิกษุทั้งหลาย หากว่าภิกษุไม่เป็นผู้ฉลาดในวาระจิตของผู้อื่น เมื่อเป็นอย่างนั้น ภิกษุนั้น พึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราจักเป็นผู้ฉลาดในวาระจิตของตน ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้แล. ภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุเป็นผู้ฉลาดในวาระจิตของตนเป็นอย่างไร ภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนสตรีหรือบุรุษที่เป็นชายหนุ่มหรือเป็นหญิงสาว...