เกี่ยวกับการใช้ชีวิตและธรรมะกับการทำงาน

ธรรม ๑๐ ประการ เพื่อความสามัคคี

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่พระวิหารเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ก็สมัยนั้น ภิกษุมากรูปด้วยกันกลับจากบิณฑบาต ในเวลาภายหลังอาหาร นั่งประชุมกันที่หอฉัน เกิดความบาดหมางกัน ทะเลาะกัน...

เหตุของความแตกแยก และเหตุของความสามัคคี

ภิกษุทั้งหลาย ในทิศใด พวกภิกษุมีความบาดหมางกัน ทะเลาะกัน วิวาทกัน ต่างเอาหอกคือปากทิ่มแทงกันและกันอยู่ ภิกษุทั้งหลาย ทิศนั้น แม้แต่เพียงนึกถึงก็ไม่เป็นที่ผาสุกแก่เราเสียแล้ว ไม่ต้องกล่าวถึงการไปในที่นั้น ในเรื่องนี้...

การค้าขาย ที่อุบาสกไม่พึงกระทำ

ภิกษุทั้งหลาย การค้าขาย ๕ ประการนี้ อันอุบาสกไม่พึงกระทำ[๑] ๕ ประการอะไรบ้าง คือ การค้าขายศาตรา การค้าขายสัตว์ การค้าขายเนื้อสัตว์ การค้าขายน้ำเมา การค้าขายยาพิษ. ภิกษุทั้งหลายการค้าขาย...

ธรรม ๕ ประการ ทำให้อายุยืน (๒)

ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เป็นเหตุให้อายุสั้น ๕ ประการอะไรบ้าง คือ ๑) ไม่เป็นผู้ทำความสบายแก่ตนเอง ๒) ไม่รู้จักประมาณในสิ่งที่สบาย ๓)...

ธรรม ๕ ประการ ทำให้อายุยืน (๑)

ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เป็นเหตุให้อายุสั้น ๕ ประการอะไรบ้าง คือ ๑) ไม่เป็นผู้ทำความสบายแก่ตนเอง ๒) ไม่รู้จักประมาณในสิ่งที่สบาย ๓)...

เหตุสำเร็จตามความปรารถนา (๒)

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่พระวิหารนิโครธาราม เขตพระนครกบิลพัสดุ์ ในสักกชนบท สมัยนั้น พระนางมหาปชาบดีโคตมีทรงถือผ้าห่มคู่หนึ่ง เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคแล้ว ประทับนั่งในที่สมควร พอประทับนั่งเรียบร้อยแล้ว...

โรค ๒ อย่าง

ภิกษุทั้งหลาย โรค ๒ อย่างเหล่านี้มีอยู่ ๒ อย่างอะไรบ้าง คือ โรคทางกายและโรคทางใจ. ภิกษุทั้งหลาย ย่อมเห็นกันอยู่แล้วว่า สัตว์ทั้งหลายที่ยืนยันถึงความไม่มีโรคทางกายตลอด...

ธรรมของชาววัชชี เพื่อความเจริญไม่เสื่อม

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ภูเขาคิชฌกูฏ เขตพระนครราชคฤห์ ก็โดยสมัยนั้น พระเจ้าแผ่นดินมคธ พระนามว่าอชาตสัตรูเวเทหิบุตร ทรงพระประสงค์จะยาตราทัพไปย่ำยีชาววัชชี ท้าวเธอจึงตรัสอย่างนี้ว่า...

การแสวงหาที่ไม่ประเสริฐ กับการแสวงหาที่ประเสริฐ (๑)

ภิกษุทั้งหลาย การแสวงหาที่ไม่ประเสริฐ (อนริยปริเยสนา) ๔ ประการเหล่านี้ ๔ ประการอะไรบ้าง คือ ภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในกรณีนี้ ๑)...

ตัณหาเป็นเหตุเกิดของการทะเลาะวิวาท และเป็นเหตุเกิดของอกุศลธรรม

… ก็คำนี้ว่า เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ดังนี้ เป็นคำที่เรากล่าวแล้ว อานนท์ เธอต้องทราบความข้อนี้ โดยปริยายดังต่อไปนี้ เหมือนกับเราได้กล่าวแล้วว่า...