หลักพิจารณาในการพูด

หลักการพูดที่ทำให้ประสบบุญเป็นอันมาก

ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพวกที่แสดงสิ่งที่ไม่ใช่ธรรม ว่าเป็นธรรม ภิกษุเหล่านั้นชื่อว่า เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความไม่เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อไม่ใช่ความสุขแก่มหาชน เป็นไปเพื่อไม่ใช่ประโยชน์ ไม่ใช่ความเกื้อกูลแก่มหาชน เป็นไปเพื่อความทุกข์แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นย่อมประสบสิ่งไม่ใช่บุญเป็นอันมาก...

ธรรม ๔ ประการ ที่ทำให้เป็นคนพาล หรือเป็นบัณฑิต (๒)

ภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ จัดเป็นคนพาล เป็นคนไม่ฉลาด เป็นอสัปบุรุษ ย่อมบริหารตนให้ถูกกำจัด ให้ถูกทำลาย...

ธรรม ๔ ประการ ที่ทำให้เป็นคนพาล หรือเป็นบัณฑิต (๑)

ภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ จัดเป็นคนพาล เป็นคนไม่ฉลาด เป็นอสัปบุรุษ ย่อมบริหารตนให้ถูกกำจัด ให้ถูกทำลาย...

วาจาของสัปบุรุษ อสัปบุรุษ

ภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ พึงทราบว่าเป็นอสัปบุรุษ ๔ ประการอะไรบ้าง คือ ภิกษุทั้งหลาย อสัปบุรุษในกรณีนี้ แม้ไม่มีใครถามถึงความไม่ดีของบุคคลอื่น...

คำพูดที่กลายเป็นถ้อยคำชั่ว หรือเป็นถ้อยคำดี

ภิกษุทั้งหลาย ถ้อยคำของบุคคล ๕ จำพวก ย่อมเป็นถ้อยคำชั่ว เมื่อเทียบบุคคลกับบุคคล ถ้อยคำของบุคคล ๕ จำพวกอะไรบ้าง...

ผู้ควรทำหน้าที่ทูต

ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ ควรทำหน้าที่ทูต องค์ ๘ ประการอะไรบ้าง คือ ภิกษุในกรณีนี้ ๑)...

สิ่งที่ควรพูด สิ่งที่ไม่ควรพูด

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่พระวิหารเวฬุวัน กลันทกนิวาปสถาน เขตพระนครราชคฤห์ ครั้งนั้น วัสการพราหมณ์ผู้เป็นมหาอำมาตย์ในแคว้นมคธ เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ได้ปราศรัยกับพระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันแล้วจึงนั่งในที่สมควร ครั้นแล้วได้ทูลพระผู้มีพระภาคว่า พระโคดมผู้เจริญ...

ผู้ที่รู้กาลอันสมควร ในกรณีนั้นๆ

ครั้งนั้น ปริพพาชกชื่อโปตลิยะ เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ ได้ปราศรัยกับพระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่งในที่สมควร ครั้นแล้วพระผู้มีพระภาคได้ตรัสถามโปตลิยปริพพาชกว่า โปตลิยะ บุคคล ๔...

ธรรม ๔ ประการ ที่ทำให้เป็นคนพาล หรือเป็นบัณฑิต (๑)

ภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ จัดเป็นคนพาล เป็นคนไม่ฉลาด เป็นอสัปบุรุษ ย่อมบริหารตนให้ถูกกำจัด ให้ถูกทำลาย...

วาจาอันประกอบด้วยองค์ ๕ เป็นวาจาสุภาษิต ไม่เป็นวาจาทุพภาษิต

ภิกษุทั้งหลาย วาจาอันประกอบด้วยองค์ ๕ ประการ เป็นวาจาสุภาษิต ไม่เป็นวาจาทุพภาษิต เป็นวาจาไม่มีโทษ และวิญญูชนไม่ติเตียน องค์ ๕...